midfordmotors.com

คํา ถาม ใน แบบสอบถาม

Successfully reported this slideshow. แนวทางการตั้งข้อคำถามในแบบสอบถามที่ใช้ในการวิจัย 1. การตั้งข้อคาถามในแบบสอบถาม ดร. กฤษดา เชียรวัฒนสุข 2. หลักการทั่วไปสาหรับการตั้งคาถามในแบบสอบถาม 1. ควรใช้ภาษาที่เรียบง่าย 2. เรียบเรียงประโยคให้กระชับและใช้ประโยคที่ได้ ใจความ 3. มีความระมัดระวังในการใช้คาศัพท์ที่เฉพาะ เจาะจง 4. ควรมีประเด็นคาถามเดียวในแต่ละข้อ 3. 5. อย่าใช้วิธีถามนาเพื่อให้ได้คาตอบที่ต้องการ 6. หลีกเลี่ยงการใช้ประโยคปฏิเสธในการตั้งคาถาม 7. ควบคุมจานวนข้อให้ไม่มากจนเกินไป 8. ถามเฉพาะประเด็นที่ต้องการเท่านั้น 4. ส่วนที่ 1  ลักษณะทั่วไปของประชากรที่ทาการศึกษา  เพศ  อายุ  ระดับการศึกษา  รายได้  สถานภาพ  ลักษณะอื่นที่สนใจ และเกี่ยวข้องในการศึกษา หลักการทั่วไปในการจัดเรียงแบบสอบถาม 5. ส่วนที่ 2  ลักษณะที่สนใจในการศึกษา  ความพึงพอใจ  ความสนใจ  ทัศนคติ  การตัดสินใจซื้อ  คุณลักษณะในการเป็นผู้นา  รูปแบบการเรียนรู้ 6. ส่วนที่ 3 (หรือ 4, 5,... )  ประเด็นที่ต้องการวัด (หรือศึกษา หรือตัวแปรที่สนใจ)  ประสิทธิภาพขององค์กร  ระดับความเครียด  ความสัมพันธ์ในการทางาน  ความขัดแย้งในการทางาน  ความจงรักภักดีต่อองค์  การรับรู้การสนับสนุนจากองค์กร 7.
  1. การออกแบบสอบถาม | Smart Research
  2. เทคนิคการตั้งคำถามในแบบสอบถาม - Thesis Thailand

การออกแบบสอบถาม | Smart Research

ช่วงเวลาที่ท่านเข้าใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ 08. 01–12. 00 น. 12. 01–16. 00 น. 16. 01–20. 00 น. 20. 01-00. 00 น. 00. 01–04. 00 น. 04. 01–08. 00 น. 11. ท่านเข้าใช้บริการเว็บไซด์เครือข่ายสังคมออนไลน์ใดบ้าง (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) Hi5 Facebook MySpace Window Live Space Multiply LiveJournal YouTube Twitter 12. ท่านเข้าใช้บริการเว็บไซด์เครือข่ายสังคมออนไลน์ใดมากที่สุด (ตอบเพียงข้อเดียว) 13. ท่านรู้จักเว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ท่านเข้าใช้อยู่ได้อย่างไร สมัครเล่นด้วยตนเอง เพื่อนแนะนำ / ชักชวน 14. เหตุผลที่ท่านเข้าใช้เว็บไซต์สังคมออนไลน์ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) ติดต่อกับบุคคลที่รู้จัก เพื่อค้นหาเพื่อนใหม่ เพื่อหาคู่ อัพเดทสถานะ/ ข้อมูลส่วนตัว/ รูปภาพ เล่นเกม หาข้อมูล/ แลกเปลี่ยนข้อมูล ติดตามข่าวสารศิลปิน / ดารา / บุคคลมีชื่อเสียง ติดตามข่าวสารของสินค้า, ผลิตภัณฑ์ หรือ บริการต่างๆ เชิญชวนให้บุคคลอื่น เข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่ม เชิญชวนให้บุคคลอื่น ซื้อสินค้า หรือบริการ เชิญชวนให้บุคคลอื่นเข้าร่วมกิจกรรมที่ตนเองจัดขึ้นหรือที่หน่วยงานอื่นจัดขึ้น ร่วมกิจกรรมกลุ่มออนไลน์ต่างๆ เช่น อ่านและแสดงความคิดเห็น, ร่วมเป็นแฟนคลับ ฯลฯ 15.

ประเภทของแบบสอบถาม คําถามแบบเปิด ( Open-Ended Questions) มีลักษณะ ดังนี้ 1. เป็นแบบสอบถามที่กําหนดเฉพาะคําถามให้ผู้ตอบมีอิสระที่จะตอบอย่างเต็มที่ 2. คําถามแบบนี้มักใช้ถามเกี่ยวกับข้อเท็จจริง ความคิดเห็น หรือแรงจูงใจของผู้ตอบ ข้อดี 1. เหมาะสําหรับใช้ในการวิจัยเชิงค้นคว้า หรือเชิงตรวจสอบ 2. เหมาะสําหรับใช้เป็นแนวทางในการสร้างชุดคําถามแบบปิด 3. เหมาะที่จะใช้กลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะเฉพาะ เช่น ผู้บริหารระดับสูง ข้อเสีย 1. ถ้าผู้ใช้แบบสอบถาม หรือพนักงานสัมภาษณ์ขาดความชํานาญ อาจทําให้เกิดข้อเสีย คือ 1. 1 ได้คําตอบไม่สอดคล้องกับประเด็นปัญหาวิจัย วิธีป้องกัน คือ ต้องสร้างคําถามให้ชัดเจน ตรงประเด็น 1. 2 สรุปคําตอบได้ไม่ครบถ้วน ใช้เทปบันทึกเสียงช่วยขณะสัมภาษณ์ 2. จัดกระทําข้อมูล หรือประมวลผลยาก เนื่องจากมีคําตอบที่หลากหลาย วิธีป้องกัน คือ คาดคะเนคําตอบที่คิดว่าจะเป็นไปได้แล้วจัดกลุ่มคําตอบที่ได้จากการ สัมภาษณ์โดยพิจารณาประกอบกับคําตอบที่ได้คาดคะเนไว้ คําถามแบบปิด ( Close-Ended Questions) เป็นแบบสอบถามที่กําหนดทั้งคําถามและคําตอบต่างๆ ให้ผู้ตอบเลือก มีหลายรูปแบบ ดังนี้ คําถามแบบมี 2 คําตอบ ให้เลือกเพียง 1 คําตอบ • ท่านใช้ครีมนวดผมทุกครั้งที่สระผม ใช่ หรือ ไม่ 1.

หากคุณเคยทำวิจัย คุณจะรู้ว่าการออกแบบสอบถามเป็นหนึ่งจากหลาย ๆ ส่วนที่ยาก และเป็นหนึ่งในส่วนที่สำคัญที่สุดของกระบวนการวิจัยตลาด ซึ่งองค์ประกอบของแบบสอบถามจะแตกต่างกันไป ดังนั้นเมื่อคุณต้องสร้างแบบสอบถามอาจจะต้องลำบากไปสักนิด วันนี้เราจะมาลดความยากเหล่านั้นได้ด้วย 7 ขั้นตอนสำคัญที่จะช่วยคุณเมื่อออกแบบสอบถาม 1. การพิจารณาหัวข้อของปัญหาที่ต้องการศึกษาและวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อให้ทราบว่าต้องการข้อมูลเกี่ยวข้องกับอะไร นอกขากนี้วัตถุประสงค์ของการวิจัยจะเป็นตัวกำหนดขอบเขตของข้อมูลได้ว่าจะต้องเก็บข้อมูลอะไรบ้างเพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการศึกษา 2. ศึกษาค้นคว้าเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพื่อผู้ที่ทำการศึกษาวิจัยจะได้ตั้งคำถามรอบคอบยิ่งขึ้น และผู้ศึกษาวิจัยจะได้จับประเด็นสำคัญๆ ได้ครบทุกหัวข้อ 3. ร่างแบบสอบถาม โดยเขียนข้อคำถามต่างๆ ให้สอดคล้องกับสิ่งต้องการศึกษาหาคำตอบและคาดด้วยว่าคำตอบเหล่านั้นจะสนองวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพียงใด อาจใช้เป็นคำถามปลายปิดหรือปลายเปิดก็ได้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม จากนั้นเรียงลำดับคำถาม อาจเรียงตามหมวดหมู่ของคำถาม เช่น คำถามเกี่ยวกับทัศนคติ ข้อมูลสวนตัว หรือเรียงจากความยากง่าย เช่นให้เรียงจากข้อคำถามง่ายๆ ไปหายาก ถามข้อมูลทั่วๆไป แล้วต่อต่อด้วยคำถามที่ต้องการข้อมูลเจาะลึก เป็นต้น 4.

ข้อแนะนาในการจัดส่วนของแบบสอบถาม แบ่งส่วนให้สอดคล้องกับตัวแปรที่ทาการศึกษา แบ่งส่วนให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการศึกษา จัดส่วนเรียงลาดับตัวแปรที่จะทาการทดสอบสมมติฐานตาม กรอบแนวคิดในการศึกษา 8. ลาดับการจัดเรียงที่เหมาะสม  ควรเริ่มจากคาถามทั่วไปก่อน (เพศ อายุ ระดับการศึกษา)  ควรถามเรื่องทั่วๆ ไปก่อน (ทัศนคติ ความคิดเห็นโดยทั่วไป)  เรียงลาดับจากคาถามที่ง่าย ไปสู่คาถามที่ยากขึ้น  หากมีลาดับเวลาเข้ามาเกี่ยวข้องควรเรียงคาถามตามลาดับเวลา  เรียงลาดับข้อคาถามโดยใช้หลายเลขประจาข้อ 9.  มีการใช้ตาราง ให้อ่านง่ายและดูเป็นสัดส่วน  ใช้ขนาดและแบบอักษรที่อ่านง่าย  จัดลาดับให้สอดคล้องกับลาดับตัวแปรที่ทาการศึกษา  จัดรูปแบบ ให้น่าตอบ และไม่สับสนในการตอบ 10. Dr. Krisada Chienwattanasook "อย่าเอาไม้บรรทัดของตัวเอง ไปวัดทุกสิ่งทุกอย่างบนโลก"

ประสบการณ์การใช้งานเครือข่ายสังคมออนไลน์ของท่าน น้อยกว่าหรือเท่ากับ 1 ปี 2 – 3 ปี มากกว่า 4 ปี ขึ้นไป 16. ท่านมีเพื่อนในเว็บไซด์เครือข่ายสังคมออนไลน์นี้รวมทั้งหมดกี่คน (รวมทุกเว็บไซด์ทีท่านมีอยู่) น้อยกว่า 10 คน 11-50 คน 51-100 คน 101-200 คน 201-500 501 คนขึ้นไป ส่วนที่ 3 แบบสอบถามด้านทัศนคติที่มีต่อการเข้าชมเว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ คำแนะนํา: ท่านมีความคิดเห็นต่อข้อความนี้อย่างไร กรุณาตอบแบบสอบถาม โดยเลือกคำตอบตามลำดับความสำคัญที่ตรงกับความเห็นของท่าน รายการ ความคิดเห็น เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง 5 4 3 2 1 17. เครือข่ายสังคมออนไลน์มีประโยชน์ 18. สะดวกในการติดต่อสื่อสาร 19. เป็นแหล่งเพิ่มพูนความรู้ 20. เป็นแหล่งให้ความบันเทิง 21. เป็นแหล่งพบปะสังสรรค์กับกลุ่มเพื่อน/คนรู้จัก 22. เป็นแหล่งแสดงความคิดเห็นความเป็นตัวของตัวเอง 23. เป็นแหล่งเพิ่มเพื่อนใหม่ 24. เป็นแหล่งค้นหาและซื้อสินค้า-บริการ 25. รับทราบข้อมูลได้รวดเร็ว 26. แบ่งปันความคิดเห็นกับผู้อื่นได้ง่าย ส่วนที่ 4 แบบสอบถามด้านพฤติกรรมการเข้าชมและติดตามสื่อโฆษณาในเว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ 27.

เทคนิคการตั้งคำถามในแบบสอบถาม - Thesis Thailand

  1. YAMAHA NMAX 155 กรองอากาศ'รายการสินค้า - Webike Thailand
  2. Sea aquarium singapore ราคา day
  3. โปร งาน the full article
  4. แม ค คา
  5. Skilful - วิกิพจนานุกรม
  6. มี ความ เป็น ผู้นำ
  7. ผ้าคลุมโซฟา (พรีออเดอร์) | Yor : Hand Woven
  8. เพลง พะเยา รอ เธอ

ใบเสนอราคา ลองค้นหาว่า Examinare สามารถช่วยอะไรคุณได้บ้าง ผู้เชี่ยวชาญของ Examinare จะติดต่อคุณในไม่ช้าเพื่อพูดคุยเกี่ยวกับความต้องการของคุณและวิธีที่คุณจะได้รับประโยชน์จาก Examinare Solutions กรอกแบบฟอร์มแล้วเราจะติดต่อคุณกลับในไม่ช้า

ตรวจสอบและปรับปรุงร่างแบบสอบถาม เป็นการหาข้อบกพร่องของแบบสอบถาม อาจทำได้ 2 วิธี คือ การตรวจสอบโดยผู้ศึกษาวิจัยเองอีกครั้ง เพื่อพิจารณาถึงถ้อยคำและประโยคว่าชัดเจนหรือไม่ และดูการจัดเรียงข้อคำถามว่าเหมาะสมหรือยัง การตรวจสอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อขอคำแนะนำและคำวิจารณ์สำหรับแนวทางในการปรับปรุงแบบสอบถามให้ความน่าเชื่อถือมากที่สุด รวมทั้งการพิจารณาเกี่ยวกับความเที่ยงตรง ของแบบสอบถามด้วย 5. การทดสอบแบบสอบถาม หรืออาจเรียกว่า pre-test เป็นการนำแบบสอบถามไปสอบถามกับกลุ่มประชากรเพียงบางส่วน (โดยทั่วไปประมาณ 20 ชุด) เพื่อพิจารณาถึงปัญหาและอุปสรรคของข้อบกพร่องบางประการของผู้ตอบแบบสอบถาม และนำผลที่ได้จากการวิเคราะห์ไปหาคุณภาพของแบบสอบถาม และนำผลที่ได้จากการวิเคราะห์ ไปหาคุณภาพของแบบสอบถาม เพื่อปรับปรุงแบบสอบถาม เพื่อปรับปรุงแบบสอบถามให้ดีขึ้น 6. ปรับปรุงแบบสอบถามครั้งที่ 2 โดยพิจารณาจากผลที่ได้ในขั้นตอนที่ 5 7.

ได้พูดคุยเละสอบถามข้อมูล เกี่ยวกับสินค้าและบริการ